วันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2557

[med]WPW syndrome

เกณฑ์ที่ยอมรับในการวินิจฉัย Wolff-Parkinson-White Syndrome (อิงจาก American Heart Association and American College of Cardiology guidelines :

1)PRintervallesserthan0.12seconds
2) A slurring of the initial segment of the QRS complex, known as a delta wave,
3) A QRS complex widening with a total duration greater than 0.12 seconds, and
4) Secondary repolarization changes reflected in ST segment-T wave changes that are generally directed opposite (discordant) to the major delta wave and QRS complex changes. 

แบ่งเป็น2ชนิด
ชนิด A ; Delta wave และ QRS complex จะเป็นบวกใน precordial lead , ลักษณะ R wave ใน V1จะสูง เด่นและมักถูกสับสนกับ Right bundle branch block

ชนิด B ; Delta wave และ QRS complex จะเป็นลบใน V1 และ V2 และเป็นบวกใน precordial lead อ่ืนๆ มักถูกสับสนกับ Left bundle branch block 

Type A (R wave สูงเด่นใน lead V1) มักถูกอ่านผลสับสนกับ:
Right bundle branch block
Right ventricular hypertrophy
Posterior myocardial infarction

Type B (QRS complex เป็นลบใน lead V1) มักถูกอ่านผลสับสนกับ:
Left bundle branch block
Anterior myocardial infarction 

คนไข้ที่เป็น WPW syndrome  อาจมีอาการต่อไปนี้:
§  เจ็บหน้าอก หรือแน่นหน้าอก (chest pain or chest tightness)
§  รู้สึกวิงเวียน (dizziness)
§  เป็นลม (fainting)
§  ใจสั่น (palpitation)
§  หายใจไม่พอ  หรือหายใจไม่อิ่ม (shortness of breath)
Treatment
ในคนไข้ที่เป็นโรค WPW syndrome ซึ่งมีการเต้นหัวใจเร็วเกิน  สามารถควบคุม  หรือป้องกันได้ด้วยการใช้ยา  เช่น adenosine, antiarrhythmia amiodarone 

ในรายที่เราไม่สามารถควบคุมหัวใจเต้นเร็วได้  อาจใช้ electrical cardioversion
แต่ในปัจจุบัน  เรานิยมรักษาภาวะ WPW syndromeด้วยวิธีทำลายตำแหน่งในหัวใจที่ทำให้หัวใจเต้นเร็ว  เรียกว่า radiofrequency  Ablation

วันพุธที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

[med]edema approach


2.1 Generalized edema
    บวมจากโรคหัวใจวาย
    บวมจากโรคต่อมไร้ท่อ เช่น hypothyroidism, Cushing syndrome
    - malnutrition (Kwashiorkor)

    - anaphylaxis
    - pregnancy  PIH
    - tumors

    -  บวมจากโรคไต (nephritic, AGN, ESRD
    -  บวมจากโรคตับ (cirrhosis)
    -  บวมจากยา  เช่น ACEI, NSAIDS, steroid, pills, Amlodipine
2.2 Local edema
    - venous thrombosis – DVT, SVCO
    - lymphatic obstruction
    - infection / inflammation
    - trauma
    - allergy

[med]dysphagia

Approach dysphagia 
***ต้องแยกจาก odynophsgia (กลืนแล้วเจ็บ เช่น candidiasis) ออกก่อน
    
    ? ตำแหน่งที่ติดและอาการร่วม
    ? กลืนของแข็งหรือของเหลวลำบาก
    ? progressive หรือ intermittent    
    ? มี heartburn หรือเปล่า


ขณะกำลังกลืนอาหารในปากแล้วมีอาการสำลัก ไอ หรืออาหารออกจมูก 
oropharyngeal  disphagia มักเกิดจาก neuromuscular เช่น stroke, ALS  หรือมีก้อนในช่องปาก


กลืนลงหลอดอาหารแล้วจึงติด  esophageal disphagia
2.1 กลืนของแข็งและเหลวแล้วติด neuromuscular disorders :      
      ถ้าเป็น intermittent                diffuse esophageal spasm (DES)
      ถ้าเป็น progressive                 scleroderma / achalasia

2.2 กลืนของแข็งแล้วติด mechanical obstruction
      ถ้าเป็น intermittent                  lower esophageal ring
        ถ้าเป็น progressive                stricture / cancer

สาเหตุอื่นๆ เช่น GERD , somatization

วันศุกร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

[med]adult sexual assault

Ceftriaxone 250 mg IM single dose สำหรับ Gonorrhea 
ร่วมกับ
Doxycycline 100 mg PO bid 7 วัน สำหรับ Chlamydia  
ร่วมกับ
Metronidazole 2 gm PO single dose สำหรับ Trichomonas

AZT 300 mg PO bid ร่วมกับ
Lamivudine 150 mg PO bid 
เป็นเวลา 28 วัน
โดยให้ยาไปก่อนประมาณ 10 วัน และนัดมาติดตามอาการ ดูผลข้างเคียงของยา และรับยาต่อ

Levonorgestrel 0.75 mg และซ้ำอีกครั้งในอีก 12 ชั่วโมง 
หรือOCPs 2 tabs (100 mg Ethinyl estradiol และ 0.5 mg levonorgestrel) และให้ซ้ำอีกครั้งใน 12 ชั่วโมง 

แนะนำไว้ว่าการให้ Hepatitis B vaccination

ควรมีการตรวจหาการติดเชื้อ HIV ซ้ำที่ 6 สัปดาห์, 3 เดือน และ 6 เดือน รวมถึงภาวะแทรกซ้อนในคนที่เลือกรับยา ARV และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการงดมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างที่ยังตรวจติดตามอาการ หรือใช้ถุงยาอนามัยทุกครั้งหากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อต่อผู้อื่น

วันอาทิตย์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2557

[med]PVC

สาเหตุ
IHD VHD 
hypoK hypoMg hyperCa
ยาDigoxin TCA aminoph amitrip caffein alcohol  
Sepsis
Thyriod

วันเสาร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557

[ENT]acute ototis externa

1)ทำความสะอาดรูหู โดยใช้สำลีพันปลายไม้ หรือพลาสติก เช็ดเบาๆด้วยความนุ่มนวล หรือใช้เครื่องดูดของเหลว (suction) ดูดหนอง และเนื้อเยื่อที่ตาย หรืออักเสบออก (aural toilet)

2)Oral ATB ~ 7-14 วัน ถ้าเป็น acute localized otitis externa มักเกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus ให้ cloxacillin, dicloxacillin, cephalexin แต่ถ้าผู้ป่วยแพ้ยา penicillin อาจเลือกใช้ยา clindamycin แทน, ถ้าเป็น acute diffuse otitis externa มักเกิดจากเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ให้ antipseudomonas quinolones เช่น ciprofloxacin, levofloxacin

3)ใช้ยาหยอดหูซึ่งมียาต้านจุลชีพ และ/ หรือยาสเตียรอยด์ หยอดวันละ 3-4 ครั้ง (ยกเว้นรายที่เป็น acute localized otitis externa ที่ไม่มีการแตกของฝี) ในทางปฏิบัติ แนะนำให้ใช้ยาต้านจุลชีพ ที่มีส่วนผสมของทั้ง polymyxin B และ neomycin ก่อน เนื่องจากคลุมเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในหูชั้นนอก ในรายที่แพ้ยา polymyxin B อาจให้ gentamicin ชนิดเดียวแทนได้ เมื่อไม่ได้ผลอาจพิจารณาใช้ chloramphenicol แทน

4)ถ้ารูหูส่วนนอกบวมมาก ไม่สามารถหยอดยาหยอดหูลงไปได้ ควรใช้ผ้าก๊อซเล็กๆ (ear wick) ชุบยาหยอดหูที่มีส่วนผสมของยาสเตียรอยด์ เพื่อช่วยลดบวม ใส่ไว้ในรูหูชั้นนอก~ 24  hr เมื่อรูหูส่วนนอกยุบลง และมีรูให้ยาหยอดหูผ่านเข้าไปได้ จึงเอา ear wick ออก

5)ถ้าปวดมาก ให้paracetamolด้วย

6)ในรายที่เป็นหูชั้นนอกอักเสบชนิดร้ายแรง (malignant otitis externa) ซึ่งมักพบในผู้ป่วยโรคเบาหวาน, ผู้ป่วยอายุมาก, ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง, ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการฉายรังสี หรือได้รับยาเคมีบำบัด, ผู้ป่วยที่ได้รับยาสเตียรอยด์เป็นระยะเวลานานๆ และมักมี cranial nerve palsy เชื้อที่มักเป็นสาเหตุคือ Pseudomonas aeruginosa แพทย์ควรผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล และให้ยาต้านจุลชีพ antipseudomonals ทางหลอดเลือด

วันพฤหัสบดีที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557

[med]SIADH

เกณฑ์ในการวินิจฉัย Inappropriate ADH secretion
: Plasma osm < 275 mOsm/kg H2O
: inappropriate urine concentration ( urine >100 mOsm/kg ) with normal renal function
: clinical euvolemia 
: urine Na >20 mmol/L (มัก>40)
: ไม่มีสาเหตุอื่นของ euvolemic hypoosmolality 
เช่น hypothyroid, AI, diuretic 

สาเหตุ
: เนื้องอก เช่น bronchogenic, thymoma, duodenal, pancreas, prostate, nasopharyngeal, leukemia
: CNS lesion เช่น tumor, abscess, hematoma, meningitis, MS, GBS, delilium tremen, hydrocephalus, head trauma
: drug ที่กระตุ้น AVP โดยตรงเช่นnicotin, phenothiazine, tricyclic ยาที่ออกฤทธิ์ที่ไตโดยตรง เช่นdesmopressin, oxytocin, PSI ไม่ทราบกลไกเช่น ACEI, PPI, SSRI, carbamazepine
: pulmonary เช่น TB, pneumonia, respi fail, COPD, on PPV
การรักษา
: รักษาตามสาเหตุ 
: จำกัดน้ำ 500-1000 ml/d
: lasix 40-80mg/d
: Na replacement 

วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[med]Hyponatremia approach

Hyponatremiaคือ serum Na<135mEq/l
3 ปัญหาสำคัญ
1.acute severe hyponatremia อันตราย
2.hyponatremia ในผู้ที่มี underlying disease เพิ่มอัตราการเสียชีวิต
3.การแก้ไขที่เร็วไปใน chronic hyponatremia ทำให้เกิดปัญหาตามมาได้

A.Approachต้องแยกระหว่าง True กับ Pseudohyponatremia
โดยดูที่ plasma osmolarity 
1.True hyponatremia: Posm<280
2.Pseudohyponatremia:
2.1 Hyperosmotic hyponatremia เกิดจาก hyperglycemia Posm>280 
หากมี hyperglecemia จะทำให้ค่า Na ที่ตรวจหาต่ำกว่าค่าที่แท้จริง
การแก้ต้อง correct Na ก่อน แล้วค่อยแก้ไข
สูตร Correct Na=Na+((BS-100)/100)x1.6หรือ +1.6mEq/100mg glucose ที่เพิ่ม
2.2 Isoosmotic hyponatremia : hyperprotein, hypertriglyceride

B.True hyponatramiaแบ่ง 3 กลุ่ม ตาม extracellular fluid volume
1.Hypervolumic น้ำมากเกิด dilutional หรือ hypotonic condition
สาเหตุ: water retension CHF,liver cirrhosis, renal failure
การรักษา: Loop diuretic (จะขับน้ำมากกว่าเกลือ), จำกัดน้ำ
2.Euvolemic
สาเหตุ:SIADH, ectopic production ADH(small cell CA lung), primary polydipsia
การรักษา:จำกัดน้ำ ไม่ให้ supplement หากไม่ได้ผลค่อยเสริม NaCl +ให้ยาขับปัสสาวร่วมด้วย
3.Hypovolemic เสียน้ำ+เสียเกลือ
สาเหตุ:renal loss(Tubulointerstitial disease), GI loss(diarrhea), Excessing sweating(hot,heavy exercise)
การรักษา:replace iv fluid
กลุ่ม 2,3 หากแยกยาก ทดสอบโดย Fluid challenge test หรือ Restrict fluid แล้วติดตามระดับ Na
Clinical manifestation (เกิดจากcell swelling)
Muscle : muscle clamps, weakness and fatique
CNS dysfunction: Headache to confusion, Lethargy, seizures, and coma
GI tract: Anorexia, Nausea, Vomitting, Abdominal cramps, Diarrhea

การแก้ไข Hyponatremia
Na ที่ต้องการ = 0.6xBWx(plasmaNa-Naที่ต้องการแก้)
หรือ 60 kg : 3%Nss 3cc/hr เพิ่ม 1meq/day
เช่น plasma Na 110 แก้ให้เป็น 120 เป็นต้น ห้ามให้แก้เกิน 12 mEq/day เร็วไปไม่ดี

อีกสูตรใช้ ปริมาตรน้ำมาคำนวณด้วย
delta [Na] /liter of infusate = {[Na]infusate - [Na] serum} / (TBW+1) 
TBW = 0.6xIBW (x0.85 if female, x0.85 if elderly)
TBW = total body water, IBW = Ideal Body weight
หมายเหตุ
- if Na < 120 mEq/L อันตรายมีโอกาสเกิด brain stem herniation ต้องเพิ่มระดับ Na อย่างเร็ว 4-6 mEq/L ใน 1-2 ชั่วโมง
- ถ้าเกิดอาการ seizures, severe confusion, coma, brainstem herniation ต้องรีบให้ 3% NSS
- Chronic hyponatremia พบบ่อยกว่า acute การแก้ Na ต้องช้าๆrate
ให้น้อยกว่า 0.5 mEq/L/h or 12 mEq/L/d.ถ้าระดับ Na 120-125 mEq/L ไม่ควรแก้ไวเกิน 48 ชั่วโมง
- 3%Nacl rate = ใช้ BW(kg)= เป็น cc/ hr :ระดับ Na จะเพิ่มขึ้นประมาณ 1 mEq/hr goal 
Ex: wt 50 ให้ 50 cc/hr จะเพิ่ม Na=1mEq/l
แก้ไม่เกิน 130 mEq/hr ,Follow up Na q 6-12 hr depend on clinical

สรุปวิธีคิดคำนวณ

วิธีคิดในการคำนวณการแก้ Hyponatremia 2 แบบ นิยมใช้

วิธีแรก ใช้กันทั่วไป

Na deficit (mEq) = 0.6 x BW x delta[Na]

เช่น ชาย 60 kg อยากให้ 3%NaCl ให้ขึ้นจาก 110 --> 120 ในหนึ่งวัน
Na deficit = 0.6 x 60 x (120-110) = 360 mEq
3% NSS 1 L Na = 513 mEqมี 
เพราะฉะนั้นต้องให้ rate = ((360/513)*L)/วัน = ((360/513)*1000)/24 hr = 29 mL/hr

EX.คำนวณสรุปง่ายๆBW 60 kg
3% NSS rate 17 cc/h/day = 6 mEq/dayเพิ่มประมาณ
3% NSS rate 20 cc/h/day = เพิ่มประมาณ 7 mEq/day
3% NSS rate 30 cc/h/day = เพิ่มประมาณ 10 mEq/day
3% NSS rate 35 cc/h/day = เพิ่มประมาณ 12 mEq/day (1st day ไม่ควรเกินนิ้)

3%NSS 1684 cc/day = เพิ่ม 24 mEq/24 hr = 70 cc/h = cc/hr (70 cc = 1 mEq)นน.เป็น กก. ของคนไข้ หน่วยเป็น 

ระดับ Na 1 mEq/hจะเพิ่มขึ้นประมาณ 

ข้อดีคือ คิดง่ายเร็ว

ข้อเสียคือ เราไม่ได้นำปริมาตรของสารน้ำที่ใส่เข้าไปมาคำนวณด้วย ในการคำนวณการแก้ deficit ของเรา

อีกวิธีก็คือ เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วโลก (เขียนไว้ใน NEJM, PocketMed, Uptodate)

delta [Na] /liter of infusate = {[Na]infulsate - [Na] serum} / (TBW+1) ; TBW = 0.6xIBW (x0.85 if female, x0.85 if elderly)

TBW = total body water, IBW = Ideal Body weight
เช่น เหมือนเดิม 60 kg, 110-120 ใน 1 d by 3%NaCl
delta [Na] / L infusate = (513-110)/(0.6x60 +1) = 10.9 mEq/L ต่อ Liter infusate
แปลว่า
หากให้ 1 L ของ 3% NaCl จะทำให้ Na เพิ่มขึ้น 10.9 mEq/L
ถ้าจะให้เพิ่ม 10 mEq/L ต้องให้ 3% NaCl = 917 mL
คิดเป็น rate = 917/24 hr = 38 mL/hr

วิธีนี้ก็จะใช้ปริมาตรของสารน้ำที่ใส่เข้าไปลงไปด้วย

สองวิธีนี้จะไม่แตกต่างกันมากหาก fluid ที่เลือกเป็นพวกที่ความเข้มข้นน้อยๆ หรือน้ำหนักตัวมากๆ
แต่สำหรับคนไทย น้ำหนักตัวน้อย หากให้ 3% ก็ใช้แบบหลังคงดีกว่า

ส่วนการแก้ในช่วง แรกๆ ใน severe symptomatic hypoNa ละก็ ให้ได้ถึง 1.5-2mEq/L/Hr สัก 3-4 ชม แรก แล้วเจาะดูซ้ำ
โดยไม่ให้เกิน 10-12 mEq /L/day (แม้ว่าจะมีรายงานว่า 8 ก็เกิด ODS ได้แล้ว)

ส่วนใน SIADH ก็จะวุ่นวายหน่อย ตรงที่จะต้องมานั่งคำนวนถึงความสามารถของไตในการขับน้ำอีกซึ่งจำเป็นต้องวัด Urine Osm และ Serum Osm ในการคำนวนด้วย

วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[Med]DLP management

แนวทางการรักษา hypertriglyceraldemia
Hight TG level 200-499
Very high TG level >500
Tx : Diet and life style control + drug
ยาที่นิยม : gemfibrosil (lopid) 300mg ขนาดที่ให้คือ 600-1,200mg/day 
เช่น lopid(300)1*2 po pc , lopid(300)2*2 po pc

แนวทางรักษา hypercholesteralemia 
ปรับยาเพื่อลดLDL level ให้ได้ตามgoal
Major atherosclerotic risk    LDLgoal   Drug+diet tx
            0-1                              <160           >190
 >2+ no athero event              <130           >160
      Athero event                     <100           >130
       >2+ event                         <70             >100

ยาที่นิยม simvastatin (Zocor)10,20 mg ขนาดที่ใช้คือ 10-80mg/day เช่น simvastatin(10) 1*1 po hs

หมายเหตุ : 
1 ตรวจf/u อย่างน้อยปีละครั้ง อาจ ทุก3เดือนปรับขนาดยาเพิ่ม ถ้ายังคุมไม่ได้
2 lab เจาะเฉพาะตัวที่ตั้งการติดตาม เช่น serum LDL

Major atherosclerotic risk ประกอบด้วย
DM
2 HT
3 smoking
4 BMI >25
5 physical inactivity 
6 microalbuminuria or CKD
7 age >55 in male , age >65 in female 
8 Hx of premature CVD

Atherosclerotic event ได้แก่
1 IHD
2 CVA 
3 peripheral artery disease 
4 carotid artery disease 
5 aortic aneurysm 
6 renal artery stenosis 

การคำนวนระดับ LDL มักจะใช้สมการของ Friedewald คือ
[LDL-chol] = [Total chol] - [HDL-chol] - ([TG]/5))

แต่มีข้อจำกัดคือการที่มี TG> 400 mg/ml, ในกรณีที่มีไคโลไมครอนสูง, มีความผิดปกติของเบตาไลโปโปรตีนในเลือด

วันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[med]Aspirin primary prevention

Aspirin 75-162 mg / day
primary prevention in 10%CHD risk > 10 % ดังนี้
1 DM in male age > 50 yrs w/ 1 risk (smoking, HT, DLP, FH of CVD, Albuminuria)
2 DM in female age > 60 yrs w/ 1 risk (smoking, HT, DLP, FH of CVD, Albuminuria)

Clopidogrel 75 mg/day
ใช้เมื่อมีข้อห้ามในการใช้ ASA

การใช้ร่วมกันได้ผลดี แต่ค่าใช้จ่ายแพง
ควรให้ร่วมกันใน secondary prevention

ASA ช่วยลด coronary heart disease 31%
(myocardial infarction, cardiac arrest, การเสียชีวิตจาก chronic coronary heart disease)

ผู้ป่วยที่ทำ PCI w/ stent placement ควรให้ ASA325 mg
ผู้ป่วยที่ทำ CABG ควรให้ ASA ภายใน 48 hr

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[med]Dog bite

Dog bite
rabiesเป็นเชื้อที่กระจายผ่านทางระบบประสาทและระบบน้ำเหลือง
ซึ่งการติดต่อเกิดได้จากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า กัดหรือข่วน 
ซึ่งถ้าเจอผู้ป่วยหมากัดมาไม่จำเป็นต้องซักประวัติหมา แต่ให้ดูที่แผล
แบ่งชนิดของการสัมผัสเป็น 3 catagory คือ
catagory 1.น้ำลาย + skin intact 
             หลักการรักษาคือ การทำแผล
catagory 2. รอยข่วนแต่ไม่มีเลือด
             หลักการรักษาคือ การทำแผล+ฉีดวัคซีน
catagory 3. มีเลือดออก
             หลักการรักษาคือ การทำแผล+ฉีดวัคซีน+passive immunization
หลักการในการ management คือ
1.การล้างแผลผ่านน้ำสะอาดไหลและสบู่ 15 นาที
2.ไม่จำเป็นต้องเย็บแผลนอกจากถูกกัดที่บริเวณใบหน้าเนื่องจากหน้าเป็นที่ที่มีเส้นเลือดมาเลี้ยงเยอะติดเชื้อได้ยากกว่าและเพื่อ cosmetic 
3. การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า แบ่งเป็น
- active immunization คือ การฉีด vaccine มีหลายยี่ห้อการฉีด ขนาด ปริมาณไม่เหมือนกัน จะกระตุ้นให้เกิดภูมิสูงสุดในวันที่ 7
      หลักการฉีดแบ่งเป็น
      1.ไม่เคยฉีดครบdose(5เข็มตามWHO ถ้าในไทยเอา 3 เข็ม+หมาไม่ตาย) มาก่อนคือฉีดทั้งหมด 5 เข็มวันที่ 0,3,7,10,28 
       2.ห่างจากเข็มสุดท้ายภายใน 6 เดือน ให้ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม
       3.ห่างจากเข็มสุดท้ายมากกว่า 6 เดือนแต่น้อยกว่า 30 ปี ให้กระตุ้น 2 เข็มวันที่0,3
- passive immunization คือ HRIG ทำมาจากคนให้ขนาด 20u/kg และ ERIG ทำมาจากม้า ให้ขนาด40u/kg โดยให้ฉีดรอบแผลให้มากที่สุดที่เหลือให้ฉีดim เข้ากล้ามเนื้อใหญ่ๆเช่นต้นขา
   จะกระตุ้นทำให้มีภูมิในวันแรกและจะลดลงในวันที่ 7
   *ในชีวิตหนึ่งฉีดครั้งเดียวในกรณี catagory 3 โดยไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน 
4.การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
: ถ้าเคยได้รับวัคซีนครบชุด (0.5 มล. IM of tetanus or tetanus/diphtheria toxoid จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 0, 30 และเข็มที่ 3 ภายใน 1 ปี นับจากเข็มแรก) มาไม่เกิน 5 ปี ไม่ต้องให้ booster หรือ passive immunization เลย ถ้าเกิน 5 ปี ให้ booster 1 ครั้ง ไม่ต้องให้ passive immunization
: ถ้าไม่เคยได้รับวัคซีนครบชุด ให้ฉีด toxoid และให้ passive immunization ด้วย tetanus immunoglobulin 250-500 ยูนิต IM หรือ tetanus antitoxin 3000 ยูนิต IM เมื่อแผลนั้นดูรุนแรง ถ้าดูไม่รุนแรงให้แต่ toxoid อย่างเดียว
: ข้อห้ามของการให้ tetanus toxoid คือ การมีอาการแพ้รุนแรง หรืออาการทางระบบประสาทที่รุนแรง จากการฉีดครั้งก่อน
5.การให้ ATB ไม่จำเป็นในกรณีถูกสุนัขกัดและแผลไม่ใหญ่มากแต่ถ้าแมวกัดต้องให้ ถ้าต้องให้ก็ควรให้ATBคลุมเชื้อgramnegativeและanaerobeเชื้อที่commonคือ pasteurella multocidaให้เป็นamoxiclav หรือถ้าแพ้กลุ่มpenicillin ให้เป็นerythromycin+clindamycin

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[med]Bell's palsy


Bell's palsy
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน สันนิษฐานว่าเกิดจาการติดเชื้อไวรัสโดยเฉพาะเชื้อเริม(HSV1) ของ
CN 
7 facial nerve ที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อใบหน้าทำให้ไม่ทำงานชั่วคราว ส่งผลให้กล้ามเนื้อใบหน้าครึ่งซีกด้านนั้นเป็นอัมพาต

ภาพ A หน้าเบี้ยวครึ่งซีกขวาชนิด UMN , ภาพ B หน้าเบี้ยวครึ่งซีกขวาชนิด LMN                             
ภาพกายวิภาคของเส้นประสาทสมองเส้นที่ 7 เส้นประสาทจะออกจากก้านสมองส่วน pons แล้วออกไปทางด้านข้าง เดินทางคู่ไปกับเส้นประสาทสมองเส้นที่ 8 ผ่านกระโหลกศีรษะไปออกที่หน้าต่อใบหู เส้นประสาทสมองเส้นที่ 7 นี้นอกจากควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อใบหน้าแล้ว ยังมีอีกหน้าที่อื่นเช่นการรับรสที่ลิ้น ควบคุมกล้ามเนื้อเล็กๆในหูชั้นกลาง และยังไปเลื้ยงต่อมน้ำลาย ต่อมน้ำตาด้วย

DDX of Bell's palsy
meningitis
งูสวัด(HZV)
HIV
ไลม์(Lyme)
ซิฟิลิสเรื้อรัง(syphilitic gumma)
sarcoidosis
โรคเรื้อน(leprosy)
การกดทับจากเนื้องอกหรือการอักเสบติดเชื้อของparotic gland  หรือ จากต่อมน้ำเหลือง
trauma
Guillain Barre syndrome
และที่สำคัญคือเส้นประสาทที่ 7 ขาดเลือดที่พบในเบาหวาน

การวินิจฉัย โดยการตรวจอาการทางคลินิกส่วนมากมักจะเพียงพอ ยกเว้นในรายที่ต้องการวินิจฉัยแยกโรคจากภาวะอื่นๆดังกล่าวข้างต้น จึงจะทำการตรวจเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคนสูงอายุ หรือสงสัยโรคเบาหวาน

อาการจะหายหรือไม่ การผ่าตัดในสมัยก่อนเรียก microvascular decompression ประมาณ 80-90% จะหายเป็นปกติ อาการมักดีขึ้นในสองสัปดาห์ และส่วนมากจะกลับเป็นปกติใน 3-6 เดือน ส่วนน้อยเท่านั้นที่มีความผิดปกติหลงเหลืออยู่บ้าง หรือเกิดเส้นประสาทต่อกันผิด (synkinesis) จะทำให้มีอาการ เช่น ทานอาหารแล้วน้ำตาไหล หรือ หลับตาแล้วมุมปากขยับ  ยิ้มแล้วตากลับปิดลง เคี้ยวแล้วกลับมีน้ำตาไหล
โอกาสเป็นซ้ำน้อยมาก แต่มีรายงานพบประมาณ 7 - 15 %

การรักษา 
specific tx : valacyclovir ร่วมกับสเตียรอยด์ ให้ผลดีกว่าไม่ได้ยา 
การใช้สเตียรอยด์ภายในสามวันแรกพบว่าให้ผลการรักษาที่ดีกว่ายาหลอก 
ยา acyclovir ไม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา

supportice tx : การรักษาตามอาการและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน มีความสำคัญมาก เนื่องจากผู้ป่วยหลับตาไม่สนิทจึงมักมีตาแดง และอาจนำไปสู่กระจกตาอักเสบได้ ดังนั้นจึงแนะนำผู้ป่วยให้
    ใช้น้ำตาเทียมเพื่อป้องกันตาแห้ง
    ใช้ยาขี้ผึ้งป้ายตาก่อนนอน หรือที่ครอบตาป้องกันฝุ่นเข้าตาเวลานอนหลับ
    สวมแว่นกันลมเวลาออกนอกบ้าน
    อย่าขยี้ตาข้างที่ปิดไม่สนิท
    การทำกายภาพบำบัดเพื่อเป็นการฝึกกล้ามเนื้อใบหน้าที่อ่อนแรงให้ได้ทำงาน เพื่อรอการฟื้นตัว


วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[viral croup]



อาการและอาการแสดง/คะแนน
0
1
2
ไอ
ไม่มี
ร้องเสียงแหบ
ไอเสียงก้อง
เสียง stridor
ไม่มี
มีขณะหายใจเข้า
ขณะหายใจเข้าและหายใจออก
Chest retraction & nasal flaring
ไม่มี
มี nasal flaring & suprasternal retraction
เหมือน 1 ร่วมกับ subcostal & intercostal retraction
เขียว
ไม่มี
เขียวในอากาศธรรมดา
เขียวในออกซิเจน 40%
เสียงหายใจเข้า
ปกติ
hash with rhonchi
ช้าและเข้ายาก



treatment
ขึ้นกับระดับความรุนแรงของภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน
1. Mild croup score<4
: สามารถให้การรักษาตามอาการที่บ้านได้โดยการให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง 
: dexamethasone 0.15 mg/kgหรือ prednisolone 1 mg/kg oral OD ช่วยลดอัตราการกลับเข้ามารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินได้
2. Moderate Croup score4-7
: nebulized epinephrine (1:1,000) 0.5 ml/kg (age < 4 Max 2.5 ml age >=4 Max 5 ml)
: dexamethasone ขนาด 0.15, 0.3 หรือ 0.6 mg/kg. oral/im
: nebulized budesonide ในขนาด 2 มก.
: เฝ้าสังเกตอาการต่อประมาณ 4 ชม. โดยการเฝ้าติดตามอาการแสดงทางคลินิกและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน (Oxygen saturation) จากเครื่อง pulse oximeter หรือประเมินด้วย croup score ก่อนและหลังให้การรักษา
ถ้าอาการดีขึ้นชัดเจน ให้กลับบ้านได้ โดยให้การรักษาตามอาการและให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง
ถ้าอาการดีขึ้นบ้าง ให้เฝ้าสังเกตอาการต่อที่ห้องฉุกเฉิน พิจารณาพ่น nebulized epinephrine ซ้ำ หากอาการหอบยังไม่ดีขึ้นให้รับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยดีขึ้น และ/หรือญาติปฏิเสธที่จะนอนรักษาในโรงพยาบาลควรให้ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองและนัดติดตามอาการที่แผนกผู้ป่วยนอก
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้รับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล พร้อมทบทวนการวินิจฉัยโรค ให้ใช้ nebulized epinephrine (1:1,000) ขนาด 0.5 ml/kg.ซ้ำ ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
3. Severe Croup score>7
ควรรีบให้การรักษาโดยการให้ออกซิเจน ไม่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น ให้ nebulized epinephrine (1:1,000)  0.5 ml/kg. และให้ dexamethasone ขนาด 0.6 mg/kg IM และพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจถ้าอาการไม่ดีขึ้น

ข้อบ่งชี้ในการรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล
1.      มีประวัติเคยเกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง
2.      มีประวัติเคยเป็น croup ชนิดรุนแรง หรือมีทางเดินหายใจผิดปกติแต่กำเนิด
3.      อายุน้อยกว่า 6 เดือน
4.      มีภาวะหายใจลำบากชัดเจน หรือหายใจมีเสียง stridor ขณะพัก
5.      มีภาวะขาดน้ำชัดเจน
6.      ผู้ปกครองมีความกังวลใจ
7.      ระยะทางระหว่างบ้านกับโรงพยาบาลไกลเกินไปหรือมีปัญหาในการเดินทางกลับมาโรงพยาบาลถ้าผู้ป่วยมีอาการเลวลง
8.      ผู้ป่วยต้องกลับมาตรวจที่ห้องฉุกเฉินอีกครั้งภายใน 24 ชั่วโมง
9.      การตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี
10.    การวินิจฉัยโรคยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน

วันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

[med]การเตรียมน้ำเกลือ

สูตร
ปริมาตรที่ต้องการ x %ที่ต้องการ = (50 x Y) + (ปริมาตรที่ใช้ - Y) x %น้ำเกลือที่ใช้
Y = ปริมาณ 50%Glucose ที่ต้องใช้
50 = ความเข้มข้นของ Glucose ที่ใช้

ตัวอย่าง 1-- ต้องการ 20%D-N/2 # 1,000 ml
กรณีนี้เราจะเตรียมจาก 10%D-N/2 # 1,000 ml
1,000 x 20 = (50 x Y) + (1,000-Y) x 10
20,000 = 50Y +(10,000-10Y)
20,000 = 40Y + 10,000
10,000 = 40Y
Y = 10,000/40 = 250 ml
เพราะฉะนั้นต้องใช้ 50%Glucose # 250 ml ใส่ใน 10%D-N/2 # 750 ml (ดูดน้ำเกลือออก 250 ml ก่อนเติม Glucose)

* Conc. อื่นๆ เช่น
15%D-N/2 : ใช้ Glucose # 125 ml + 10%D-N/2 # 875 ml
20%D-N/2 : ใช้ Glucose # 250 ml + 10%D-N/2 # 750 ml

25%D-N/2 : ใช้ Glucose # 500 ml + NSS # 500 ml
30%D-N/2 : ใช้ Glucose # 500 ml + D-10-S # 500 ml

D-15-W : ใช้ Glucose # 125 ml + D-10-W # 875 ml
D-20-W : ใช้ Glucose # 250 ml + D-10-W # 750 ml
D-25-W : ใช้ Glucose # 375 ml + D-10-W # 625 ml
D-30-W : ใช้ Glucose # 500 ml + D-10-W # 500 ml
ข้อควรระวัง คือ ต้องระวัง Conc. ของเกลือที่เปลี่ยนแปลงด้วย เพราะเราต้องดูดน้ำเกลือออกก่อนเติม Glucose เพราะฉะนั้นสูตรนี้จึงไม่สามารถใช้ได้ทุกครั้ง 

ตัวอย่าง 2 --ต้องการ 2.5%D-N/5
กรณีนี้จะใช้สูตรด้านบนไม่ได้ ต้อง dilute จากน้ำเกลือที่ใกล้เคียงที่สุด

หลักการคือ :
N/5 มี NaCl = 0.18 g/100 ml และ N/3 มี NaCl = 0.3 g/100 ml

เพราะฉะนั้น ให้ dilute น้ำเกลือ N/3 1 เท่าจะได้ NaCl 0.15 g/100 ml
ส่วน dextrose ใน N/3 = 5% ถ้า dilute 1 เท่าจะได้ 2.5%

= SWI # 500 ml + 5%D-N/5 # 500 ml จะได้ 2.5 %D-N/5 # 1,000 ml
วิธีเตรียม
ใช้ SWI ขนาด 1,000 ml ดูดออก 500 ml แล้วเติม 5%D-N/5 # 500 ml ลงให้ครบ 1,000 ml